การใช้สารานุกรม
1 พิจารณาเรื่องที่ต้องการค้นว่าเป็นความรู้ประเภทใด เช่น ความรู้ทั่วไปหรือความรู้เฉพาะวิชา
2 เลือกใช้ประเภทสารานุกรมให้สอดคล้องกับประเภทของเรื่องที่ต้องการค้น เช่น สารานุกรมทั่วไปหรือสารานุกรมเฉพาะสาขาวิชา
3 อ่านคำแนะนำการใช้สารานุกรมนั้น ซึ่งจะอยู่ในส่วนต้นของเล่ม
4 ใช้เครื่องมือช่วยค้นเพื่อหาหัวข้อเรื่องที่ต้องการ เช่น ดรรชนี อักษรกำกับเล่มและกำกับหน้า
ดวงดาวและอวกาศ
วันอาทิตย์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553
วันจันทร์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2553
ข่าวประจำสัปดาห์ที่ 6
"ประโยชน์ของสารานุกรม"
1. ใช้เป็นแหล่งข้อมูลค้นหาคำตอบเกี่ยวกับข้อเท็จจริงได้ทุก ๆ แขนงวิชา
2. ข้อเท็จจริงในหนังสือสารานุกรมเชื่อถือได้ เพราะเป็นหนังสือที่เขียนโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชานั้น ๆ
3. ใช้เป็นแหล่งศึกษาพื้นฐานความรู้ในเชิงประวัติความเป็นมา และวิวัฒนาการของศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ
4. ได้ความรู้ที่ทันสมัยเพราะมีการปรับปรุงเนื้อหาทุก ๆ ปี
5. ผู้ใช้สามารถค้นหาคำตอบได้สะดวกและรวดเร็ว เพราะมีเครื่องมือช่วยค้น คือดรรชนี (Index)
6. ผู้ใช้สามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพราะมีการจัดเรียงลำดับเนื้อเรื่องอย่างมีระเบียบ
7. ใช้เป็นคู่มือของบรรณารักษ์ในการบริการตอบคำถามได้เป็นอย่างดี
1. ใช้เป็นแหล่งข้อมูลค้นหาคำตอบเกี่ยวกับข้อเท็จจริงได้ทุก ๆ แขนงวิชา
2. ข้อเท็จจริงในหนังสือสารานุกรมเชื่อถือได้ เพราะเป็นหนังสือที่เขียนโดยผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชานั้น ๆ
3. ใช้เป็นแหล่งศึกษาพื้นฐานความรู้ในเชิงประวัติความเป็นมา และวิวัฒนาการของศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ
4. ได้ความรู้ที่ทันสมัยเพราะมีการปรับปรุงเนื้อหาทุก ๆ ปี
5. ผู้ใช้สามารถค้นหาคำตอบได้สะดวกและรวดเร็ว เพราะมีเครื่องมือช่วยค้น คือดรรชนี (Index)
6. ผู้ใช้สามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพราะมีการจัดเรียงลำดับเนื้อเรื่องอย่างมีระเบียบ
7. ใช้เป็นคู่มือของบรรณารักษ์ในการบริการตอบคำถามได้เป็นอย่างดี
ข่าวสัปดาห์ที่ 5
ความหมายของคำ "สารานุกรม"
"สารานุกรม" เป็นหนังสือรวมเรื่องราวต่างๆคำนี้ประกอบด้วยคำ ๒ คำ คือ "สาร" และ "อนุกรม" พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. ๒๕๒๕ ให้นิยามของคำ "สาร" ว่า แก่นเนื้อแท้ ส่วนสำคัญ ข้อใหญ่ใจความ ถ้อยคำคำว่า "อนุกรม" หมายถึง ลำดับ ระเบียบ ชั้นสองคำนี้รวมกันเข้าโดยวิธีสมาสเป็นคำเดียวคือ "สารานุกรม" หมายถึงเรื่องราวที่เป็นเนื้อแท้เป็นแก่นสารนำมาเรียบเรียงโดยใช้ถ้อยคำ จัดระเบียบเรื่องแต่ละเรื่องตามลำดับให้อยู่ด้วยกันในหนังสือเล่มเดียวกัน หรือหลายเล่มแต่เป็นชุดเดียวกันคำนี้ใช้เรียกชื่อหนังสืออ้างอิง หรือหนังสืออุเทศประเภทหนึ่ง ลักษณะทั่วไปของหนังสือนี้ คือ อธิบายเรื่องราวต่างๆ ที่มนุษย์ได้เรียนรู้ และได้คิดขึ้นตั้งแต่โบราณสมัยจนถึงปัจจุบัน มีทั้งความรู้ที่จัดเป็นวิชาหรือเป็นศาสตร์ และความรู้ทั่วๆ ไปที่ควรรู้หรือน่ารู้ ผู้จัดทำสารานุกรม จะจัดหมวดหมู่ และลำดับความสำคัญของคำอธิบายเรื่องราวเหล่านี้ เรียงลำดับอยู่ในเล่มเดียวกันหรือชุดเดียวกันตามลำดับความสำคัญของแต่ละวิชาบ้าง ตามลำดับความสัมพันธ์ของแต่ละวิชา และสาขาวิชาในกลุ่มวิชานั้นๆ บ้างตามลำดับตัวอักษรตัวแรกของคำซึ่งใช้เรียกชื่อวิชาหรือเรื่องราวนั้นๆ บ้าง
หนังสือสารานุกรมเป็นหนังสือซึ่งผู้มีความรู้รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือซึ่งเชื่อถือได้ แม้ว่าสารานุกรมบางเล่มจะมีข้อผิดพลาด หรือล้าสมัยเพราะไม่มีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลใหม่ๆ ให้ทันกาลเวลา และความก้าวหน้าทางวิชาการผู้จัดทำหรือผู้รวบรวมสารานุกรมจะเลือกสรรเรื่องราวที่ผู้มีความรู้เชื่อถือได้เป็นผู้เขียน มีหลักฐานของการค้นคว้า นำไปอ้างอิงได้ มีวิธีเรียบเรียงซึ่งทำให้สามารถค้นเรื่องราวที่ต้องการรู้ได้อย่างรวดเร็ว เช่น มีดัชนีค้นเรื่องอยู่ท้ายเล่ม หรือในเล่มสุดท้ายของชุด มีการเรียงเรื่องตามลำดับตัวอักษรตัวแรกของคำที่เรียกเรื่องราวนั้นๆ เป็นต้น
การจัดทำหนังสือรวมวิชาความรู้ในสมัยโบราณนั้น เท่าที่ทราบและมีหลักฐานปรากฏว่านักการศึกษาชาวโรมันชื่อ พลินี (Pliny) ซึ่งมีอายุอยู่ระหว่าง พ.ศ. ๕๖๖-๖๒๒ เป็นผู้จัดทำขึ้นเขาเรียกหนังสือของเขาว่า ประวัติธรรมชาติ (Natural History) เป็นหนังสือชุด มี ๓๗ เล่ม ๒,๔๙๓ บท และมีเรื่องราว ๒๐,๐๐๐ เรื่อง รวมเรื่องดาราศาสตร์ โลหวิทยา ภูมิศาสตร์ สัตวศาสตร์แพทยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ ประดิษฐกรรม ศิลปกรรม พืชกรรม เวทมนตร์คาถา ฯลฯ เรื่องเหล่านี้เขาไม่ได้แต่งเอง หากรวบรวมจากหนังสือต่างๆ ที่ผู้รู้หลายร้อยคนเขียนไว้แล้ว พลินีกล่าวไว้ในคำนำของหนังสือชุดนี้ว่า เรื่องของเขามีเรื่องราวทุกเรื่องทุกวิชาที่อยู่ในวงจรการศึกษา ซึ่งชาวกรีกเรียกหนังสือที่รวมวิชาเหล่านี้ว่า เอนไซโคลปีเดีย (Encyclopaedia)
"สารานุกรม" เป็นหนังสือรวมเรื่องราวต่างๆคำนี้ประกอบด้วยคำ ๒ คำ คือ "สาร" และ "อนุกรม" พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. ๒๕๒๕ ให้นิยามของคำ "สาร" ว่า แก่นเนื้อแท้ ส่วนสำคัญ ข้อใหญ่ใจความ ถ้อยคำคำว่า "อนุกรม" หมายถึง ลำดับ ระเบียบ ชั้นสองคำนี้รวมกันเข้าโดยวิธีสมาสเป็นคำเดียวคือ "สารานุกรม" หมายถึงเรื่องราวที่เป็นเนื้อแท้เป็นแก่นสารนำมาเรียบเรียงโดยใช้ถ้อยคำ จัดระเบียบเรื่องแต่ละเรื่องตามลำดับให้อยู่ด้วยกันในหนังสือเล่มเดียวกัน หรือหลายเล่มแต่เป็นชุดเดียวกันคำนี้ใช้เรียกชื่อหนังสืออ้างอิง หรือหนังสืออุเทศประเภทหนึ่ง ลักษณะทั่วไปของหนังสือนี้ คือ อธิบายเรื่องราวต่างๆ ที่มนุษย์ได้เรียนรู้ และได้คิดขึ้นตั้งแต่โบราณสมัยจนถึงปัจจุบัน มีทั้งความรู้ที่จัดเป็นวิชาหรือเป็นศาสตร์ และความรู้ทั่วๆ ไปที่ควรรู้หรือน่ารู้ ผู้จัดทำสารานุกรม จะจัดหมวดหมู่ และลำดับความสำคัญของคำอธิบายเรื่องราวเหล่านี้ เรียงลำดับอยู่ในเล่มเดียวกันหรือชุดเดียวกันตามลำดับความสำคัญของแต่ละวิชาบ้าง ตามลำดับความสัมพันธ์ของแต่ละวิชา และสาขาวิชาในกลุ่มวิชานั้นๆ บ้างตามลำดับตัวอักษรตัวแรกของคำซึ่งใช้เรียกชื่อวิชาหรือเรื่องราวนั้นๆ บ้าง
หนังสือสารานุกรมเป็นหนังสือซึ่งผู้มีความรู้รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือซึ่งเชื่อถือได้ แม้ว่าสารานุกรมบางเล่มจะมีข้อผิดพลาด หรือล้าสมัยเพราะไม่มีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมข้อมูลใหม่ๆ ให้ทันกาลเวลา และความก้าวหน้าทางวิชาการผู้จัดทำหรือผู้รวบรวมสารานุกรมจะเลือกสรรเรื่องราวที่ผู้มีความรู้เชื่อถือได้เป็นผู้เขียน มีหลักฐานของการค้นคว้า นำไปอ้างอิงได้ มีวิธีเรียบเรียงซึ่งทำให้สามารถค้นเรื่องราวที่ต้องการรู้ได้อย่างรวดเร็ว เช่น มีดัชนีค้นเรื่องอยู่ท้ายเล่ม หรือในเล่มสุดท้ายของชุด มีการเรียงเรื่องตามลำดับตัวอักษรตัวแรกของคำที่เรียกเรื่องราวนั้นๆ เป็นต้น
การจัดทำหนังสือรวมวิชาความรู้ในสมัยโบราณนั้น เท่าที่ทราบและมีหลักฐานปรากฏว่านักการศึกษาชาวโรมันชื่อ พลินี (Pliny) ซึ่งมีอายุอยู่ระหว่าง พ.ศ. ๕๖๖-๖๒๒ เป็นผู้จัดทำขึ้นเขาเรียกหนังสือของเขาว่า ประวัติธรรมชาติ (Natural History) เป็นหนังสือชุด มี ๓๗ เล่ม ๒,๔๙๓ บท และมีเรื่องราว ๒๐,๐๐๐ เรื่อง รวมเรื่องดาราศาสตร์ โลหวิทยา ภูมิศาสตร์ สัตวศาสตร์แพทยศาสตร์ ศิลปศาสตร์ ประดิษฐกรรม ศิลปกรรม พืชกรรม เวทมนตร์คาถา ฯลฯ เรื่องเหล่านี้เขาไม่ได้แต่งเอง หากรวบรวมจากหนังสือต่างๆ ที่ผู้รู้หลายร้อยคนเขียนไว้แล้ว พลินีกล่าวไว้ในคำนำของหนังสือชุดนี้ว่า เรื่องของเขามีเรื่องราวทุกเรื่องทุกวิชาที่อยู่ในวงจรการศึกษา ซึ่งชาวกรีกเรียกหนังสือที่รวมวิชาเหล่านี้ว่า เอนไซโคลปีเดีย (Encyclopaedia)
ข่าวประจำสัปดาห์ที่ 4
การจัดกลุ่มแบ่งประเภทของสารานุกรม
สารานุกรมสามารถแบ่งออกได้หลายประเภทหลายรูปแบบ ซึ่งข้อมูลจากสารานุกรมเสรีวิกิพีเดีย [wikipedia.net] ให้หลัก
การแบ่งประเภทของสารานุกรม ออกเป็น ๔ ประเภท ได้แก่
(ก) แบ่งตามผู้แต่งหรือเรียบเรียงเนื้อหา
(ข) แบ่งตามความเจาะจงของเนื้อหา
(ค) แบ่งตามการเรียงลำดับของเนื้อหา
(ง) แบ่งตามรูปแบบในการนำเสนอ
จากข้อมูลการสำรวจ ประเภทของสารานุกรมดังกล่าวและจากข้อมูลประกอบอื่นๆ โครงการจัดทำสารานุกรมโทรคมนาคม
ไทยจึงแบ่งประเภทของสารานุกรมที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ เพื่อการจัดทำและการบริหารโครงการฯ ออกเป็นสองประเภทตาม
ลักษณะของการจัดทำ คือ สารานุกรมโดยผู้เชี่ยวชาญและสารานุกรมเสรี โดยสารานุกรมโดยผู้เชี่ยวชาญ มีเนื้อหามาจากการ
เขียนและเรียบเรียงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะคุณภาพและการยอมรับจากผู้ใช้งาน ขึ้นอยู่กับชื่อเสียงของผู้เชี่ยวชาญหรือ
สำนักพิมพ์ เช่น สารานุกรมบริเตนนิกา (Britannica) ของประเทศสกอตแลนด์ เป็นต้น
ส่วนสารานุกรมเสรีมีเนื้อหามาจากบุคคลทั่วไปหลากหลายอาชีพสามารถแก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติมเนื้อหาได้ทันทีผ่านทาง
เว็บไซต์ เน้นหลักการมีส่วนร่วมของผู้ใช้หรือบุคคลในวงกว้าง ดังนั้น เนื้อหาสารานุกรมเสรี จึงมีความหลากหลายของข้อมูล
และมีปัจจัยทางด้านลิขสิทธิ์ ที่ผู้อ่านสามารถนำเนื้อหาหรือซอฟต์แวร์ ไปใช้งานได้ภายใต้ข้อกำหนด โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เช่น
สารานุกรมเสรีวิกิพีเดีย (Wikipedia) ดังนั้นทางโครงการฯจึงนำข้อเด่นของสารานุกรมทั้งสองประเภทมาประกอบใช้ร่วมกันโดย
แสดงลักษณะการจัดทำสารานุกรมโดยผู้เชี่ยวชาญ และสารานุกรมเสรี
สารานุกรมสามารถแบ่งออกได้หลายประเภทหลายรูปแบบ ซึ่งข้อมูลจากสารานุกรมเสรีวิกิพีเดีย [wikipedia.net] ให้หลัก
การแบ่งประเภทของสารานุกรม ออกเป็น ๔ ประเภท ได้แก่
(ก) แบ่งตามผู้แต่งหรือเรียบเรียงเนื้อหา
(ข) แบ่งตามความเจาะจงของเนื้อหา
(ค) แบ่งตามการเรียงลำดับของเนื้อหา
(ง) แบ่งตามรูปแบบในการนำเสนอ
จากข้อมูลการสำรวจ ประเภทของสารานุกรมดังกล่าวและจากข้อมูลประกอบอื่นๆ โครงการจัดทำสารานุกรมโทรคมนาคม
ไทยจึงแบ่งประเภทของสารานุกรมที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ เพื่อการจัดทำและการบริหารโครงการฯ ออกเป็นสองประเภทตาม
ลักษณะของการจัดทำ คือ สารานุกรมโดยผู้เชี่ยวชาญและสารานุกรมเสรี โดยสารานุกรมโดยผู้เชี่ยวชาญ มีเนื้อหามาจากการ
เขียนและเรียบเรียงโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะคุณภาพและการยอมรับจากผู้ใช้งาน ขึ้นอยู่กับชื่อเสียงของผู้เชี่ยวชาญหรือ
สำนักพิมพ์ เช่น สารานุกรมบริเตนนิกา (Britannica) ของประเทศสกอตแลนด์ เป็นต้น
ส่วนสารานุกรมเสรีมีเนื้อหามาจากบุคคลทั่วไปหลากหลายอาชีพสามารถแก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติมเนื้อหาได้ทันทีผ่านทาง
เว็บไซต์ เน้นหลักการมีส่วนร่วมของผู้ใช้หรือบุคคลในวงกว้าง ดังนั้น เนื้อหาสารานุกรมเสรี จึงมีความหลากหลายของข้อมูล
และมีปัจจัยทางด้านลิขสิทธิ์ ที่ผู้อ่านสามารถนำเนื้อหาหรือซอฟต์แวร์ ไปใช้งานได้ภายใต้ข้อกำหนด โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เช่น
สารานุกรมเสรีวิกิพีเดีย (Wikipedia) ดังนั้นทางโครงการฯจึงนำข้อเด่นของสารานุกรมทั้งสองประเภทมาประกอบใช้ร่วมกันโดย
แสดงลักษณะการจัดทำสารานุกรมโดยผู้เชี่ยวชาญ และสารานุกรมเสรี
ข่าวประจำสัปดาห์ที่3
สารานุกรมคืออะไร สารานุกรมไทย (Encyclopedia) มาจากอะไร"
ความหมายของสารานุกรม“สารานุกรม คือหนังสือที่รวบรวมเรื่องราวต่างๆ ทุกหัวข้อวิชาและทุกแขนงโดยให้ความรู้ที่เป็นพื้นฐานกว้าง ๆ เขียนโดยผู้ชำนาญในแต่ละสาขาวิชานั้น ๆ การเรียงลำดับเนื้อเรื่องอาจเรียงลำดับตามตัวอักษรหรือหมวดหมู่มีดรรชนี เรื่องอย่างละเอียด หนังสือสารานุกรมมีทั้งชนิดเล่มเดียวจบ และเป็นชุดหลายเล่มจบ เช่นสารานุกรมสำหรับเด็กซึ่งใช้ภาษาง่าย และสารานุกรมสำหรับผู้ใหญ่”ความหมายและที่มา มาจากเว็บไซต์ school ดอท net ดอท th
รากฐานของคำว่าสารานุกรมมีที่มาจาก
คำสมาสจากคำว่า”สาร”และ”อนุกรม” กล่าวคือเป็นความรู้ที่เป็นเรื่องราวถูกจัดเรียงในลำดับ จะมีทั้งประเภทความรู้ทั่วไป และความรู้เฉพาะด้านเช่น สารานุกรมการเกี่ยวกับการแพทย์ คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือ จัดทำเพื่อจุดประสงค์เฉพาะ เช่น สารานุกรมสำหรับเยาวชน
สารานุกรมสามารถเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องทั่วไป ดังที่ปรากฏในสารานุกรมที่มีชื่อเสียง สารานุกรมบริเตนนิกาในภาษาอังกฤษและสารานุกรมบร็อกเฮาส์ (Brockhaus)ในภาษาเยอรมัน หรือสารานุกรมอาจจะเป็นเรื่องราวเฉพาะทางเช่น สารานุกรมเกี่ยวกับ การแพทย์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา หรืออาจจะเป็นสารานุกรมที่ครอบคลุมเนื้อหาในแต่ละภูมิภาค ประเทศ หรือกลุ่มชน
และขณะที่บางสารานุกรมจัดทำขึ้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย เช่นสารานุกรมสำหรับเยาวชน ที่จะมีเนื้อหาที่อ่านง่าย และเข้าใจง่าย สารานุกรมจะใช้การจัดเรียงหัวข้อ 2 ลักษณะ คือ เรียงตามอักขระ และ เรียงตามกลุ่มเนื้อหา ในยุคปัจจุบันมีการพัฒนาของเทคโนโลยีได้มีการนำสารานุกรมมาจัดเก็บในรูปแบบใหม่รวมถึงการจัดเรียงลำดับข้อมูล เพื่อให้การใช้งานสารานุกรมง่ายต่อการใช้
สารานุกรมเป็นคำสมาสจากคำ สาร และ อนุกรม มีความหมายรวมว่า สาระ หรือ เรื่องราว ซึ่งมีการจัดเรียงเป็นลำดับ หมวดหมู่ คำว่าสารานุกรมในภาษาอังกฤษ คือ Encyclopedia หรือ Encyclopædia ซึ่งมีที่มาจากภาษากรีก คำว่า Encyclopedia นี้บางครั้งก็ใช้ว่า Cyclopaedia ซึ่งให้ความหมายเหมือนกัน
ใน"ประเทศไทย" มีโครงการจัดทำ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฉบับกาญจนาภิเษก โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
วิธีใช้สารานุกรมสารานุกรมทุกชนิดจะเรียงลำดับตามตัวอักษรของเนื้อเรื่องทุก ๆ บทความ และมีส่วนต่างๆ ที่ช่วยให้เราค้นหาเรื่องที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว คือ1. มี VOLUME GUIDE คือตัวแนะหรือตัวช่วยค้น2. มีดรรชนีช่วยในการค้นหาเรื่องที่เราต้องการ มักจะอยู่ท้ายเล่มของทุกเล่ม หรือมี ดรรชนีรวมอยู่เล่มสุดท้ายของชุด3. บทความหรือหัวข้อเรื่องที่มีชื่อประกอบหลายคำให้ใช้คำแรกเป็นหลัก4. หัวเรื่องที่มีคำย่อให้ดูที่คำเต็ม เช่น Mt. Everest ให้ดูที่ Mount Everest5. สำหรับสารานุกรมภาษาอังกฤษเมื่อต้องการหาเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลให้ดูที่ชื่อสกุลหรือชื่อสุดท้ายเป็นหลัก
ประโยชน์สารานุกรมหนังสือสารานุกรมใช้ในการตอบปัญหาเกี่ยวกับเรื่องทั่วๆ ไป โดยให้คำอธิบายอย่างกว้าง ๆ ทุกแขนงวิชา ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับการค้นคว้าหาความรู้พื้นฐานทั่วไป
ความหมายของสารานุกรม“สารานุกรม คือหนังสือที่รวบรวมเรื่องราวต่างๆ ทุกหัวข้อวิชาและทุกแขนงโดยให้ความรู้ที่เป็นพื้นฐานกว้าง ๆ เขียนโดยผู้ชำนาญในแต่ละสาขาวิชานั้น ๆ การเรียงลำดับเนื้อเรื่องอาจเรียงลำดับตามตัวอักษรหรือหมวดหมู่มีดรรชนี เรื่องอย่างละเอียด หนังสือสารานุกรมมีทั้งชนิดเล่มเดียวจบ และเป็นชุดหลายเล่มจบ เช่นสารานุกรมสำหรับเด็กซึ่งใช้ภาษาง่าย และสารานุกรมสำหรับผู้ใหญ่”ความหมายและที่มา มาจากเว็บไซต์ school ดอท net ดอท th
รากฐานของคำว่าสารานุกรมมีที่มาจาก
คำสมาสจากคำว่า”สาร”และ”อนุกรม” กล่าวคือเป็นความรู้ที่เป็นเรื่องราวถูกจัดเรียงในลำดับ จะมีทั้งประเภทความรู้ทั่วไป และความรู้เฉพาะด้านเช่น สารานุกรมการเกี่ยวกับการแพทย์ คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือ จัดทำเพื่อจุดประสงค์เฉพาะ เช่น สารานุกรมสำหรับเยาวชน
สารานุกรมสามารถเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องทั่วไป ดังที่ปรากฏในสารานุกรมที่มีชื่อเสียง สารานุกรมบริเตนนิกาในภาษาอังกฤษและสารานุกรมบร็อกเฮาส์ (Brockhaus)ในภาษาเยอรมัน หรือสารานุกรมอาจจะเป็นเรื่องราวเฉพาะทางเช่น สารานุกรมเกี่ยวกับ การแพทย์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา หรืออาจจะเป็นสารานุกรมที่ครอบคลุมเนื้อหาในแต่ละภูมิภาค ประเทศ หรือกลุ่มชน
และขณะที่บางสารานุกรมจัดทำขึ้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย เช่นสารานุกรมสำหรับเยาวชน ที่จะมีเนื้อหาที่อ่านง่าย และเข้าใจง่าย สารานุกรมจะใช้การจัดเรียงหัวข้อ 2 ลักษณะ คือ เรียงตามอักขระ และ เรียงตามกลุ่มเนื้อหา ในยุคปัจจุบันมีการพัฒนาของเทคโนโลยีได้มีการนำสารานุกรมมาจัดเก็บในรูปแบบใหม่รวมถึงการจัดเรียงลำดับข้อมูล เพื่อให้การใช้งานสารานุกรมง่ายต่อการใช้
สารานุกรมเป็นคำสมาสจากคำ สาร และ อนุกรม มีความหมายรวมว่า สาระ หรือ เรื่องราว ซึ่งมีการจัดเรียงเป็นลำดับ หมวดหมู่ คำว่าสารานุกรมในภาษาอังกฤษ คือ Encyclopedia หรือ Encyclopædia ซึ่งมีที่มาจากภาษากรีก คำว่า Encyclopedia นี้บางครั้งก็ใช้ว่า Cyclopaedia ซึ่งให้ความหมายเหมือนกัน
ใน"ประเทศไทย" มีโครงการจัดทำ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฉบับกาญจนาภิเษก โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
วิธีใช้สารานุกรมสารานุกรมทุกชนิดจะเรียงลำดับตามตัวอักษรของเนื้อเรื่องทุก ๆ บทความ และมีส่วนต่างๆ ที่ช่วยให้เราค้นหาเรื่องที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว คือ1. มี VOLUME GUIDE คือตัวแนะหรือตัวช่วยค้น2. มีดรรชนีช่วยในการค้นหาเรื่องที่เราต้องการ มักจะอยู่ท้ายเล่มของทุกเล่ม หรือมี ดรรชนีรวมอยู่เล่มสุดท้ายของชุด3. บทความหรือหัวข้อเรื่องที่มีชื่อประกอบหลายคำให้ใช้คำแรกเป็นหลัก4. หัวเรื่องที่มีคำย่อให้ดูที่คำเต็ม เช่น Mt. Everest ให้ดูที่ Mount Everest5. สำหรับสารานุกรมภาษาอังกฤษเมื่อต้องการหาเรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลให้ดูที่ชื่อสกุลหรือชื่อสุดท้ายเป็นหลัก
ประโยชน์สารานุกรมหนังสือสารานุกรมใช้ในการตอบปัญหาเกี่ยวกับเรื่องทั่วๆ ไป โดยให้คำอธิบายอย่างกว้าง ๆ ทุกแขนงวิชา ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับการค้นคว้าหาความรู้พื้นฐานทั่วไป
ข่าวประจำสัปดาห์ที่2
สารานุกรม คือเรื่องคัดย่อที่ถูกเขียนขึ้นสำหรับการรวบรวมความรู้ เป็นคำสมาสจากคำว่า"สาร"และ"อนุกรม" กล่าวคือเป็นความรู้ที่เป็นเรื่องราวถูกจัดเรียงในลำดับ จะมีทั้งประเภทความรู้ทั่วไป และความรู้เฉพาะด้านเช่น สารานุกรมการเกี่ยวกับการแพทย์ คณิตศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือ จัดทำเพื่อจุดประสงค์เฉพาะ เช่น
สารานุกรมสำหรับเยาวชน
สารานุกรมที่เป็นที่รู้จักกันดีได้แก่ สารานุกรมบริเตนนิกา (Encyclopædia Britannica) สารานุกรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่มีการตีพิมพ์ [1] ตีพิมพ์ฉบับแรกในภาษาอังกฤษในช่วงปี พ.ศ. 2311-2314 (ค.ศ. 1768–1771) ในเมืองเอดินบะระ สกอตแลนด์ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการตีพิมพ์และจำหน่ายในฉบับซีดี
สารานุกรมสามารถเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องทั่วไป ดังที่ปรากฏในสารานุกรมที่มีชื่อเสียง สารานุกรมบริเตนนิกาในภาษาอังกฤษและสารานุกรมบร็อกเฮาส์ (Brockhaus)ในภาษาเยอรมัน หรือสารานุกรมอาจจะเป็นเรื่องราวเฉพาะทางเช่น สารานุกรมเกี่ยวกับ การแพทย์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา หรืออาจจะเป็นสารานุกรมที่ครอบคลุมเนื้อหาในแต่ละภูมิภาค ประเทศ หรือกลุ่มชน และขณะที่บางสารานุกรมจัดทำขึ้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย เช่นสารานุกรมสำหรับเยาวชน ที่จะมีเนื้อหาที่อ่านง่าย และเข้าใจง่าย สารานุกรมจะใช้การจัดเรียงหัวข้อ 2 ลักษณะ คือ เรียงตามอักขระ และ เรียงตามกลุ่มเนื้อหา ในยุคปัจจุบันมีการพัฒนาของเทคโนโลยีได้มีการนำสารานุกรมมาจัดเก็บในรูปแบบใหม่รวมถึงการจัดเรียงลำดับข้อมูล ดังตัวอย่างเช่นโครงการวิกิพีเดีย และ เอชทูจีทู (h2g2) เพื่อให้การใช้งานสารานุกรมง่ายต่อการใช้
สารานุกรมเป็นคำสมาสจากคำ สาร และ อนุกรม มีความหมายรวมว่า สาระ หรือ เรื่องราว ซึ่งมีการจัดเรียงเป็นลำดับ หมวดหมู่ คำว่าสารานุกรมในภาษาอังกฤษ คือ Encyclopedia หรือ Encyclopædia ซึ่งมีที่มาจากภาษากรีก εγκύκλιος παιδεία (enkyklios paideia; "in a circle of instruction") จากคำว่า εγκύκλιος หมายถึง circuit shaped. โดย κύκλος หมายถึง circuit และ παιδεία หมายถึง instruction. คำว่า Encyclopedia นี้บางครั้งก็ใช้ว่า Cyclopaedia ซึ่งให้ความหมายเหมือนกัน
ในประเทศไทยมีโครงการจัดทำ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฉบับกาญจนาภิเษก โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ที่มีลักษณะคล้ายสารานุกรม
สารานุกรมสำหรับเยาวชน
สารานุกรมที่เป็นที่รู้จักกันดีได้แก่ สารานุกรมบริเตนนิกา (Encyclopædia Britannica) สารานุกรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลกที่มีการตีพิมพ์ [1] ตีพิมพ์ฉบับแรกในภาษาอังกฤษในช่วงปี พ.ศ. 2311-2314 (ค.ศ. 1768–1771) ในเมืองเอดินบะระ สกอตแลนด์ ซึ่งในปัจจุบันได้มีการตีพิมพ์และจำหน่ายในฉบับซีดี
สารานุกรมสามารถเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องทั่วไป ดังที่ปรากฏในสารานุกรมที่มีชื่อเสียง สารานุกรมบริเตนนิกาในภาษาอังกฤษและสารานุกรมบร็อกเฮาส์ (Brockhaus)ในภาษาเยอรมัน หรือสารานุกรมอาจจะเป็นเรื่องราวเฉพาะทางเช่น สารานุกรมเกี่ยวกับ การแพทย์ ประวัติศาสตร์ ปรัชญา หรืออาจจะเป็นสารานุกรมที่ครอบคลุมเนื้อหาในแต่ละภูมิภาค ประเทศ หรือกลุ่มชน และขณะที่บางสารานุกรมจัดทำขึ้นเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย เช่นสารานุกรมสำหรับเยาวชน ที่จะมีเนื้อหาที่อ่านง่าย และเข้าใจง่าย สารานุกรมจะใช้การจัดเรียงหัวข้อ 2 ลักษณะ คือ เรียงตามอักขระ และ เรียงตามกลุ่มเนื้อหา ในยุคปัจจุบันมีการพัฒนาของเทคโนโลยีได้มีการนำสารานุกรมมาจัดเก็บในรูปแบบใหม่รวมถึงการจัดเรียงลำดับข้อมูล ดังตัวอย่างเช่นโครงการวิกิพีเดีย และ เอชทูจีทู (h2g2) เพื่อให้การใช้งานสารานุกรมง่ายต่อการใช้
สารานุกรมเป็นคำสมาสจากคำ สาร และ อนุกรม มีความหมายรวมว่า สาระ หรือ เรื่องราว ซึ่งมีการจัดเรียงเป็นลำดับ หมวดหมู่ คำว่าสารานุกรมในภาษาอังกฤษ คือ Encyclopedia หรือ Encyclopædia ซึ่งมีที่มาจากภาษากรีก εγκύκλιος παιδεία (enkyklios paideia; "in a circle of instruction") จากคำว่า εγκύκλιος หมายถึง circuit shaped. โดย κύκλος หมายถึง circuit และ παιδεία หมายถึง instruction. คำว่า Encyclopedia นี้บางครั้งก็ใช้ว่า Cyclopaedia ซึ่งให้ความหมายเหมือนกัน
ในประเทศไทยมีโครงการจัดทำ สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฉบับกาญจนาภิเษก โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ที่มีลักษณะคล้ายสารานุกรม
ข่าวประจำสัปดาห์ที่ 1
ประวัติและวิวัฒนาการของสารานุกรม
สารานุกรม (Encyclopedia) คือ หนังสือที่รวบรวมความรู้ทั่วๆ ไปหรือความรู้เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง เช่น ด้านพืช ด้านคอมพิวเตอร์ ด้านภูมิศาสตร์ฯลฯ สารานุกรมชุดหนึ่งอาจจะประกอบด้วยสารานุกรมเล่มเดียว หรือหลายเล่ม ซึ่งในแต่ละเล่ม จะมีการจัดเรียงที่แตกต่างกันออกไปอาจเรียงลำดับตามตัวอักษร หรือเรียงลำดับตามเนื้อหาเพื่อความสะดวกต่อการค้นหา ความรู้ต่างๆ โดยเนื้อหาในสารานุกรมอาจจะมีภาพประกอบรูปถ่ายหรือตัวอย่างเพื่อช่วยให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น ดังนั้น กองบรรณาธิการ จึงได้สำรวจข้อมูลสารานุกรม เพื่อเป็นฐานข้อมูลความรู้ในการจัดทำสารานุกรมโทรคมนาคมไทย ดังนี้ ความหมายของสารานุกรม สารานุกรมเป็นคำสนธิมาจากรากศัพท์ในภาษาบาลี-สันสกฤต ได้แก่ “สาร” หรือ “สาระ” และคำว่า “อนุกรม” ทาง พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้คำนิยามของ “สาร” ว่าหมายถึง “ส่วนสำคัญ ข้อใหญ่ใจความถ้อยคำ” และ “อนุกรม” หมายถึง “ลำดับ ระเบียบ ชั้น” โดยเมื่อทราบถึงความหมายของศัพท์ทั้งสองคำ จะได้ความหมายโดยรวมของ “สารานุกรม” คือ “หนังสือที่มีการรวบรวมความรู้สารพัดวิชาและเรียบเรียงเอาไว้อย่างเป็นหมวดหมู่” โดยการเรียบเรียง อาจจะ เป็นการเรียงลำดับ ตามความเกี่ยวเนื่องกันของเนื้อหาหรือการเรียงตามลำดับตัวอักษร สารานุกรมในภาษาอังกฤษใช้คำว่า encyclopedia หรือ encyclopædia (encyclopaedia) มาจากศัพท์เดิมในภาษา กรีกโบราณ ἐγκύκλια παιδεία (enkyklia paideia) ประกอบด้วยคำ “enkyklios " (“en”=“in” + “kyklios” ="circle") หมายถึง "circular" หรือความหมายอีกนัยหนึ่ง คือ "general" รวมกับ “paideia” ซึ่งหมายถึง "education, child-rearing" เมื่อนำมาแปล ตามกันจะได้ความหมายว่า “generaleducation” แต่ในหนังสือบางฉบับก็จะให้ความหมายต่างออกไปว่า หมายถึง "training in a circle"
สารานุกรม (Encyclopedia) คือ หนังสือที่รวบรวมความรู้ทั่วๆ ไปหรือความรู้เฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง เช่น ด้านพืช ด้านคอมพิวเตอร์ ด้านภูมิศาสตร์ฯลฯ สารานุกรมชุดหนึ่งอาจจะประกอบด้วยสารานุกรมเล่มเดียว หรือหลายเล่ม ซึ่งในแต่ละเล่ม จะมีการจัดเรียงที่แตกต่างกันออกไปอาจเรียงลำดับตามตัวอักษร หรือเรียงลำดับตามเนื้อหาเพื่อความสะดวกต่อการค้นหา ความรู้ต่างๆ โดยเนื้อหาในสารานุกรมอาจจะมีภาพประกอบรูปถ่ายหรือตัวอย่างเพื่อช่วยให้ผู้อ่านสามารถเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น ดังนั้น กองบรรณาธิการ จึงได้สำรวจข้อมูลสารานุกรม เพื่อเป็นฐานข้อมูลความรู้ในการจัดทำสารานุกรมโทรคมนาคมไทย ดังนี้ ความหมายของสารานุกรม สารานุกรมเป็นคำสนธิมาจากรากศัพท์ในภาษาบาลี-สันสกฤต ได้แก่ “สาร” หรือ “สาระ” และคำว่า “อนุกรม” ทาง พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้คำนิยามของ “สาร” ว่าหมายถึง “ส่วนสำคัญ ข้อใหญ่ใจความถ้อยคำ” และ “อนุกรม” หมายถึง “ลำดับ ระเบียบ ชั้น” โดยเมื่อทราบถึงความหมายของศัพท์ทั้งสองคำ จะได้ความหมายโดยรวมของ “สารานุกรม” คือ “หนังสือที่มีการรวบรวมความรู้สารพัดวิชาและเรียบเรียงเอาไว้อย่างเป็นหมวดหมู่” โดยการเรียบเรียง อาจจะ เป็นการเรียงลำดับ ตามความเกี่ยวเนื่องกันของเนื้อหาหรือการเรียงตามลำดับตัวอักษร สารานุกรมในภาษาอังกฤษใช้คำว่า encyclopedia หรือ encyclopædia (encyclopaedia) มาจากศัพท์เดิมในภาษา กรีกโบราณ ἐγκύκλια παιδεία (enkyklia paideia) ประกอบด้วยคำ “enkyklios " (“en”=“in” + “kyklios” ="circle") หมายถึง "circular" หรือความหมายอีกนัยหนึ่ง คือ "general" รวมกับ “paideia” ซึ่งหมายถึง "education, child-rearing" เมื่อนำมาแปล ตามกันจะได้ความหมายว่า “generaleducation” แต่ในหนังสือบางฉบับก็จะให้ความหมายต่างออกไปว่า หมายถึง "training in a circle"
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)